Page 9 - ทฤษฎีควอนตัมและโครงสร้างอะตอม
P. 9

ห น้ า  | 77                                                             บทที่ 3  โครงสร้างอะตอมและทฤษฎีควอนตัม


                  สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
                  แสงที่ต า มองเห็น (visible light) เป็นส่วนหนึ่งของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic

                  spectrum) ซึ่งรวมทุกความยาวคลื่นของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ภาพ 3-10 แสดงสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าจาก

                                                       5
                                 –15
                  ความยาวคลื่น 10  m (รังสีแกมม่า) ถึง 10  (คลื่นวิทยุ) จากภาพ 3-10 รังสีที่มีความถี่สูงและความยาวคลื่น
                  ต่ าอยู่ทางด้านขวาของสเปกตรัม ส่วนรังสีที่มีความถี่ต่ าและความยาวคลื่นยาวอยู่ทางด้านซ้ายของสเปกตรัม
                  ส่วนแสงที่ตามองเห็นอยู่ประมาณตรงกลางของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
























                   ภาพ 3-10  สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ทางด้านซ้ายของสเปกตรัมประกอบด้วยรังสีความยาวคลื่นสั้น ความถี่สูง

                                 และพลังงานสูง ส่วนทางด้านขวาของสเปกตรัมเป็นรังสีความยาวคลื่นยาว ความถี่และพลังงานต่ า
                                 ช่วงที่ตาเรามองเห็นเป็นช่วงความยาวคลื่นอยู่ประมาณตรงกลางของสเปกตรัม [Tro, Chemistry

                                  A Molecular Approach 2 edition, 2011, Pearson]




                  ตัวอย่าง 3-1   ความยาวคลื่นและความถี่
                  จงค านวณหาความยาวคลื่นในหน่วย nm ของแสงสีแดงซึ่งมีความถี่ 4.62 x 10  s
                                                                                  14 –1
                  วิธีท า
















                                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ศิริไชย
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14