Page 3 - ทฤษฎีควอนตัมและโครงสร้างอะตอม
P. 3

ห น้ า  | 71                                                             บทที่ 3  โครงสร้างอะตอมและทฤษฎีควอนตัม























                     ภาพ 3-2  การวัดอัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนของทอมสัน ทอมสันใช้สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก

                                    เพื่อเบนล าอิเล็กตรอนในหลอดรังสีแคโทด จากการวัดความแรงของสนามที่ผลทั้งสองหักล้างพอดี
                                    คือล าอิเล็กตรอนไม่เบน ทอมสันสามารถค านวณอัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนได้

                                    [Tro, Chemistry A Molecular Approach 2 edition, 2011, Pearson]


                         น้ ามันถูกพ่นเป็นละอองฝอยเล็กๆ โดยใช้อะตอมไมเซอร์ (atomizer) จากนั้นปล่อยให้เคลื่อนที่ตก

                  ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกผ่านรูขนาดเล็กไปยังแผ่นด้านล่าง ในระหว่างการตกของหยดน้ ามัน หยดน้ ามันจะ
                  เกิดอันตรกิริยากับแสงที่มีพลังงานสูง (รังสีเอ็กซ์) ท าให้เกิดประจุบนลบบนหยดน้ ามัน ซึ่งในช่วงเวลานี้มีแรง

                  กระท าต่อหยดน้ ามันทั้งหมดสามแรง คือแรงดึงดูดระหว่างหยดน้ ามันกับแผ่นประจุบวกที่อยู่ด้านบน แรงผลัก

                  ระหว่างหยดน้ ามันกับแผ่นประจุลบที่อยู่ด้านล่าง และแรงโน้มถ่วงของโลก โดยการปรับศักย์ไฟฟ้าบนแผ่นทั้ง
                  สอง การตกของหยดน้ ามันประจุลบเคลื่อนที่ช้าลงและหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้าม


                         จากศักย์ไฟฟ้าที่ต้องใช้เพื่อท าให้หยดน้ ามันหยุดนิ่งและจากมวลของหยดน้ ามัน (หาจากรัศมีและความ

                  หนาแน่นของหยดน้ ามัน) มิลลิแกนสามารถค านวณประจุบนหยดน้ ามันแต่ละหยด เขาให้เหตุผลว่าเนื่องจากแต่

                  ละหยดน้ ามันต้องมีเลขจ านวนเต็มของอิเล็กตรอน ดังนั้นประจุของแต่ละหยดต้องเป็นเลขจ านวนเต็มคูณด้วย
                  ประจุของอิเล็กตรอน นั่นคือ q = ne (เมื่อ n = 1, 2, 3, …) เขาพบว่าการวัดประจุบนแต่ละหยดน้ ามันมีค่า

                                                     –19
                  เท่ากับเลขจ านวนเต็มคูณด้วย –1.60 x 10  คูลอมบ์ (C) ซึ่งก็คือประจุของหนึ่งอิเล็กตรอน จากตัวเลขนี้และ
                  จากอัตราส่วนประจุต่อมวลของทอมสัน เราสามารถค านวณหามวลของอิเล็กตรอนได้ดังนี้


                                                          มวล
                                               ประจุ  x               =    มวล
                                                         ประจุ  g

                                                                                    –28
                                         –1.60 x 10  C   x                          =   9.10 x 10  g
                                              –19
                                                                   8
                                                         –1.76 x 10  C







                                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ศิริไชย
   1   2   3   4   5   6   7   8