Page 26 - ไฟฟ้าเคมี
P. 26

เอกสารค าสอน  30310259                                                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์  ศิริไชย


                    ทั้งแอโนดและแคโทดจุ่มใน sulfuric acid ขณะที่กระแสไฟฟ้าถูกดึงออกจากแบตเตอรี่ จะมี PbSO (s) มา
                                                                                                    4
               เกาะที่ขั้วไฟฟ้าทั้งสอง เมื่อใช้แบตเตอรี่เป็นเวลานาน ๆ โดยไม่มีการชาร์จ จะมี PbSO (s) เกาะที่ผิวของขั้วไฟฟ้า
                                                                                    4
               มากขึ้น  และสุดท้ายเซลล์ก็ตายหรือหมดไฟ    เราสามารถชาร์จแบตเตอรี่โดยผ่านกระแสไฟฟ้าจากภายนอก

               กระแสไฟฟ้าที่ป้อนเข้าไป ท าให้เกิดปฏิกิริยาในทิศทางย้อนกลับ เปลี่ยน PbSO 4(s) เป็น Pb(s) และ PbSO 4(s)
               เซลล์ประเภทที่สามารถชาร์จประจุใหม่ได้ เรียกว่า เซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell)


               แบตเตอรี่ Nickel-Cadmium (NiCad)

               แบตเตอรี่ NiCad ประกอบด้วยโลหะ cadmium เป็นแอโนด และ NiO(OH)(s) เป็นแคโทด อิเล็กโทรไลต์ที่ใช้คือ

               KOH(aq) ระหว่างการท างานของแบตเตอรี่นี้ cadmium ถูกออกซิไดส์ และ NiO(OH) ถูกรีดิวซ์ ตามสมการ

                                                                                           -
                                                                     -
                    Oxidation (Anode):                                Cd(s) + 2 OH (aq)  Cd(OH) (s) + 2e
                                                                                   2
                                                                                              -
                                                                        -
                    Reduction (Cathode):            2 NiO(OH)(s) + 2 H O(ℓ) + 2e   2 Ni(OH) (s) + 2 OH (aq)
                                                               2
                                                                                    2
                    ปฏิกิริยาสุทธิให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.30 V ขณะแบตเตอรี่จ่ายไฟ (กระแสถูกดึงออกจากแบตเตอรี่ NiCad)
               จะมีของแข็ง Cd(OH)  เกาะที่แอโนด และของแข็ง nickel(II) hydroxide เกาะที่แคโทด แบตเตอรี่นี้สามารถชาร์จ
                                2
               ประจุใหม่ได้


               แบตเตอรี่ปรอท
               แบตเตอรี่ปรอทใช้มากในเครื่องคิดเลข  องค์ประกอบของแบตเตอรี่ปรอทแสดงในภาพที่  4-12  มี  zinc  เป็น

               แอโนด (อะมัลกัมกับปรอท) และ HgO เป็นแคโทด ท าหน้าที่เป็นตัวออกซิไดส์ในสารละลายเบส ปฏิกิริยาของ

               เซลล์ คือ

                                                              -
                                                                                        -
                    Oxidation (Anode):                   Zn(Hg) + 2 OH (aq)  ZnO(s) + H O(ℓ) + 2e
                                                                               2
                                                                                 -
                    Reduction (Cathode):            HgO(s) + H O(ℓ) + 2e   Hg(ℓ) + 2 OH (aq)
                                                                 -
                                                        2
                    ปฏิกิริยาสุทธิ                         Zn(Hg) + HgO(s)   ZnO(s) + Hg(ℓ)














                                                                                            th
               ภาพ 4-12 แบตเตอรี่ปรอทที่ใช้ในเครื่องคิดเลข (Zumdahl, DeCoste, Chemical Principles 8  Edition, 2017,
               Cengage)





               เรื่อง   ไฟฟ้าเคมี                                        หน้า 152
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31