Page 31 - ไฟฟ้าเคมี
P. 31

เอกสารค าสอน  30310259                                                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์  ศิริไชย


               อิเล็กโทรลิซิสในสารละลายในน้ าของโซเดียมคลอไรด์

               ภาพที่ 4-17 แสดงอิเล็กโทรลิซิสของสารละลายในน้ าของ sodium chloride (NaCl) ในการท านายสารผลิตภัณฑ์
               ของอิเล็กโทรลิซิส เราจะพิจารณาครึ่งปฏิกิริยาสองครึ่งปฏิกิริยาที่เป็นไปได้ คือ


                                                           -
                                        -
                    Oxidation:       2 Cl (aq)  Cl (aq) + 2e            E = 1.36 V
                                                  2
                                                                                       +
                                                                   -
                                                          +
                                                                                             -7
                    Oxidation:       2 H O(ℓ)  O (g) + 4 H (aq) + 4e      E = 0.82 V ([H ] = 10  M)
                                                  2
                                        2
               และครึ่งปฏิกิริยารีดักชันที่เป็นไปได้ คือ
                                                  -
                                         +

                    Reduction:       2 Na (aq) + 2e   2 Na(s)           E = -2.71 V
                                                 -
                                                                                         -
                                                                                               -7

                                                                 -
                    Reduction:       2 H O(ℓ) + 2e  H (g) + 2 OH (aq)    E = -0.41 V ([OH ] = 10  M)
                                                       2
                                        2




















               ภาพ  4-17  อิเล็กโทรลิซิสของสารละลายในน้ าของ  NaCl:  ผลของความต่างศักย์เกิน  ปฏิกิริยาที่แอโนดของ
               เซลล์คือการออกซิเดชันของ Cl  เป็นแก๊ส Cl  มากกว่าการเกิดออกซิเดชันของน้ าเป็น H  และแก๊ส O  (Tro,
                                         -
                                                                                         +
                                                     2
                                                                                                    2
                                           th
               Chemistry Molecular Approach 4  Edition, 2017, Pearson)

                                                                                  -
               เนื่องจากออกซิเดชันของน้ ามีศักย์ไฟฟ้าของขั้วเป็นลบมากกว่าออกซิเดชันของ Cl  เราจึงท านายว่า น้ าควรถูก
               ออกซิไดส์ที่แอโนด ในท านองเดียวกัน เนื่องจากรีดักชันของน้ ามีศักย์ไฟฟ้าของขั้วเป็นบวกมากกว่ารีดักชันของ

                  +
               Na  เราจึงคาดว่าน้ าควรถูกรีดิวซ์ที่แคโทด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราสร้างเซลล์นี้ เราพบว่า ที่แคโทดเกิดแก๊ส H (g)
                                                                                                       2
               และที่แอโนดเกิดแก๊ส Cl (g) เหตุผลคือ ถึงแม้ว่าศักย์ไฟฟ้าของขั้วส าหรับการออกซิเดชันของน้ าคือ 0.82 V แต่
                                   2
               จริง ๆ แล้ว ปฏิกิริยาต้องการศักย์ไฟฟ้ามากกว่า 0.82 V เพื่อเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของน้ า ความแตกต่าง

               ระหว่างศักย์ไฟฟ้าของขั้วและศักย์ไฟฟ้าจริงที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดอิเล็กโทรลิซิส  เรียกว่า  ความต่างศักย์เกิน
               (overvoltage)  ซึ่งในกรณีนี้  ศักย์ไฟฟ้าที่ต้องใช้เพื่อเกิดออกซิเดชันของน้ าคือประมาณ  1.4  V  ด้วยเหตุนี้

               chloride ion ออกซิไดส์ได้ง่ายกว่าน้ า ท าให้พบเกิดแก๊ส Cl (g) ที่แอโนด
                                                              2

               เรื่อง   ไฟฟ้าเคมี                                        หน้า 157
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36