Page 14 - มวลสารสัมพันธ์
P. 14

ห น้ า  | 42                 บทที่ 2  มวลสารสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมีว่าด้วยอะตอม นิวเคลียส โมเลกุล และไอออน


                          ตาราง 2-3  การเรียกชื่อสารประกอบโมเลกุลชนิดทวิภาค
                            สูตร                             การเรียกชื่อ



















                                  [Petrucci, General Chemistry 10 edition หน้า 89, 2011, Pearson]


            กรดทวิภาค

            กรดทวิภาค (binaty acid) คือกรดที่ประกอบด้วยธาตุสองชนิด ในการเรียกชื่อกรดทวิภาค เราใช้ค าน าหน้า
            (prefix) hydro– ตามด้วยชื่ออโลหะอื่นๆ และลงท้ายด้วย –ic ตามด้วย acid กรดทวิภาคที่ส าคัญได้แก่

                                         HF(aq)         =      hydrofluoric acid
                                         HBr(aq)        =      hydrobromic acid

                                         HCl(aq)        =      hydrochloric acid

                                         HI(aq)         =      hydroiodic acid
                                         H2S(aq)        =      hydrosulfuric acid


            ไอออนหลายอะตอม

                                                                  2+
            ไอออนทุกตัวในตาราง 2-2 เป็นไอออนอะตอมเดี่ยว ยกเว้น Hg2  ซึ่งแต่ละไอออนประกอบด้วยอะตอมเดี่ยว
            ในไอออนหลายอะตอม (polyatomic ion) อะตอมสองอะตอมหรือมากกว่ามารวมกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
            ตาราง 2-4 แสดงไอออนหลายอะตอมที่พบบ่อย จากตารางเราเห็นได้ว่า

               1.  แอนไอออนหลายอะตอม (polyatomic anion) มีมากกว่าแคทไอออนหลายอะตอม แอนไอออนหลาย

                                                     +
                   อะตอมที่รู้จักดีคือแอมโมเนียมไอออน (NH4 )
                                                                                                    –
               2.  มีแอนไอออนหลายอะตอมจ านวนน้อยที่ลงท้ายด้วย –ide ในตารางมีเพียงสองไอออนเท่านั้น คือ OH
                        –
                   และ CN  แต่ส่วนใหญ่จะลงท้ายด้วย –ite และ –ate และบางชื่อมีค าน าหน้าด้วย hypo– และ per–
               3.  ธาตุที่พบมากในแอนไอออนหลายอะตอมคือออกซิเจน ปกติรวมกับอโลหะตัวอื่น ซึ่งเรียกว่า ออกโซ
                   แอนไอออน (oxoanion)

               4.  อโลหะบางตัว เช่น Cl, N, P และ S เกิดเป็นอนุกรมของออกโซแอนไอออนที่มีจ านวนอะตอมของ
                   ออกซิเจนต่างกัน ชื่อของสารพวกนี้สัมพันธ์กับเลขออกซิเดชันของอะตอมอโลหะที่อะตอม O เกิดพันธะ

                   เริ่มจาก hypo– (ต่ าสุด) ไป per– (สูงสุด)



                                          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ศิริไชย
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19