Page 2 - กรด-เบส ตอนที่ 2
P. 2

เอกสารค าสอน  30310259                                                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์  ศิริไชย


               3-1 ผลของไอออนร่วม

               ในหัวข้อนี้ เราจะพิจารณาสารละลายที่มีกรดอ่อน เช่น acetic acid (CH COOH) และเกลือของกรดอ่อนนั้น ที่
                                                                           3
               ละลายน้ า เช่น sodium acetate (CH COONa) สังเกตุว่า ในสารละลายที่มี acetic acid และ sodium actate มี
                                             3
                                                -
               ไอออนร่วมกันคือ acetate ion (CH COO )
                                            3
                    Sodium acetate เป็นสารประกอบไอออนิกที่ละลายน้ า นั่นคือเป็นอิเล็กโทรไลท์แก่ ดังนั้น เกลือนี้ในน้ าแตก
                                                   -
                                       +
               ตัวอย่างสมบูรณ์เกิดเป็น Na  และ CH COO
                                               3
                                                                           -
                                                             +
                                          CH COONa(aq)  Na (aq) + CH COO (aq)
                                                                      3
                                            3
               ในทางตรงกันข้าม CH COOH เป็นอิเล็กโทรไลท์อ่อน ซึ่งแตกตัวเป็นไอออนในน้ าบางส่วน ดังสมการ
                                 3
                                                                         -
                                                           +
                                                      CH COOH(aq)    H (aq) + CH COO (aq)        (3-1)
                                            3
                                                                    3
                                                            5 
                                                      
               ค่าคงที่สมดุลของสมการ 3-1 คือ K   a    1.8   10  ที่ 25 C ถ้าเราเติม sodium acetate ลงในสารละลาย
                                                                   o
                                      -
               ของ acetic acid  CH COO  จาก CH COONa ความเข้มข้นที่สมดุลของสารในสมการ 3-1 เลื่อนไปทางซ้าย
                                               3
                                  3
                                               +
               ดังนั้น ท าให้ความเข้มข้นที่สมดุลของ H (aq) ลดลง

                                                             +
                                                                          -
                                           CH COOH(aq)      H (aq) + CH COO (aq)
                                                                      3
                                             3

                                                                               +
                                                   -
                                     การเติม CH COO  ท าให้สมดุลเลื่อนไปทางซ้าย ([H ] ลดลง)
                                               3

                    การเติม acetate ion (CH COO ) ลงใน acetic acid ท าให้การแตกตัวเป็นไอออนลดลง  ค่าคงที่สมดุลไม่
                                             -
                                        3
               เปลี่ยนแปลง แต่ความเข้มข้นสัมพัทธ์ของสารผลิตภัณฑ์และสารตั้งต้นในนิพนจ์ค่าคงที่สมดุลเปลี่ยน
                    เมื่ออิเล็กโทรไลท์อ่อนและอิเล็กโทรไลท์แก่ซึ่งมีไอออนร่วมอยู่รวมกันในสารละลาย  อิเล็กโทรไลท์จะแตก
               ตัวเป็นไอออนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับมีอิเล็กโทรไลท์อ่อนเพียงอย่างเดียวในสารละลาย เรียกผลอันนี้ว่า ผลของ

               ไอออนร่วม (common-ion effect)


               3-2 สารละลายบัฟเฟอร์

                    สารละลายบัฟเฟอร์ (buffer solution) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า บัฟเฟอร์ (buffer) คือสารละลายที่สามารถ

               ควบคุม pH ไว้ได้เมื่อเติมกรดหรือเบสลงไปปริมาณเล็กน้อย


               องค์ประกอบและการท างานของบัฟเฟอร์

                                                                                   -
               บัฟเฟอร์ต้านการเปลี่ยนแปลง  pH  เนื่องจากในบัฟเฟอร์มีทั้งกรดที่ไปสะเทิน  OH   ที่เติมลงไป  และเบสที่ไป
                        +
               สะเทิน  H   ที่เติมลงไป  อย่างไรก็ตาม  กรดและเบสที่ใช้เตรียมบัฟเฟอร์ต้องไม่ท าปฏิกิริยาซึ่งกันและกันผ่าน
               ปฏิกิริยาการสะเทิน



               เรื่อง  ปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส                 หน้า 84
   1   2   3   4   5   6   7