Page 19 - ไฟฟ้าเคมี
P. 19

เอกสารค าสอน  30310259                                                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์  ศิริไชย


               เกิดขึ้นได้เองนี้ เราเขียนครึ่งเซลล์ manganese ทางซ้าย (มี Mn เป็นแอโนด) และเขียนครึ่งเซลล์ nickel ทางขวา

               (มี Ni เป็นแคโทด) อิเล็กตรอนไหลจากแอโนดไปยังแคโทด

               สรุปการท านายทิศทางของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้เอง

                         ครึ่งปฏิกิริยาที่มีศักย์ไฟฟ้าของขั้วเป็นบวกมากกว่า จะดึงดูดอิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
                         ครึ่งปฏิกิริยาที่มีศักย์ไฟฟ้าของขั้วเป็นลบมากกว่า จะผลักอิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน























                                              2+
                                                                                 th
                   ภาพ 4-6 เซลล์ไฟฟ้าเคมี Mn/Ni  (Tro, Chemistry Molecular Approach 4  Edition, 2017, Pearson)

               4-6 ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ G และ K
                                                       eq
                                                         
               ขนาดของการเปลี่ยนแปลงพลังงานเสรีมาตรฐาน ( G ) แปรผันโดยตรงกับ E  ของเซลล์โวลตาอิกที่สภาะ
                                                                                cell
               มาตรฐานดังนี้
                                                             
                                                       G   =  nFE
                                                                  cell
               และขนาดของการเปลี่ยนแปลงพลังงานเสรีมาตรฐานแปรผันโดยตรงกับลอการิทึมของค่าคงที่สมดุลของ

               ปฏิกิริยา
                                                      G   =  RT lnK
                                                            

               รวมสองสมการเข้าด้วยกัน จะได้

                                                              
                                                     nFE cell  =  RT  lnK

               จัดสมการใหม่ จะได้
                                             RT                             nFE
                                       E cell  =  nF   lnK         หรือ         ln  = K  RT cell


                                                                                  
                                               
               ดังนั้น ถ้ารู้ E cell  เราสามารถค านวณ  G  และ K  ได้ ความสัมพันธ์ระหว่าง  G , E cell   และ K  แสดง
               ดังภาพที่ 4-7






               เรื่อง   ไฟฟ้าเคมี                                        หน้า 145
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24